ปีงบประมาณ

2562

ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดที่สำคัญของกรมสุขภาพจิต

เขตสุขภาพ

(ข้อมูลจากผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ระดับกรมและระดับหน่วยงาน ปีงบประมาณ 2562

 

ลำดับที่ ประจำปีงบประมาณ ตัวชี้วัดที่ รายละเอียด เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน
2562 1 ร้อยละของเด็กปฐมวัยกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการคัดกรองแล้วพบว่าสงสัยล่าช้าแล้วได้รับการกระตุ้นจนมีพัฒนาการสมวัย 70 98.28
2562 20 ร้อยละของผู้พยายามฆ่าตัวตายไม่กลับมาทำร้ายตัวเองซ้ำในระยะเวลา 1 ปี 80 93.57
2562 16 ร้อยละของประชาชนในอำเภอที่เข้าร่วมบูรณาการการดำเนินงานสุขภาพจิตมีความสุข 80 87.39
2562 15.2 ร้อยละของประชาชนมีความรอบรู้สุขภาพจิตและมีพฤติกรรมสุขภาพจิตที่พึงประสงค์: พฤติกรรมที่พึงประสงค์ 60 81.05
2562 15.1 ร้อยละของประชาชนมีความรอบรู้สุขภาพจิตและมีพฤติกรรมสุขภาพจิตที่พึงประสงค์: ความรอบรู้สุขภาพจิต 47 77.89
2562 14 ร้อยละของผู้ประสบภาวะวิกฤตที่มีปัญหาสุขภาพจิตได้รับการเยียวยาจิตใจตามมาตรฐานกรมสุขภาพจิต 75 100.00
2562 10 ร้อยละของจังหวัดที่ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการได้ตามเกณฑ์ 75 83.48
2562 6 ร้อยละของผู้สูงอายุมีความสุข 75 85.47
2562 5 ร้อยละของประชาชนวัยทำงานมีความสุข 80 87.09
2562 4 ร้อยละของเด็กวัยรุ่นกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลช่วยเหลือจนดีขึ้น 90 95.77
2562 3 ร้อยละของเด็กวัยเรียนกลุ่มเสี่ยงต่อระดับสติปัญญาต่ำกว่ามาตรฐาน ปัญหาการเรียนรู้ ออทิสติก และปัญหาพฤติกรรม-อารมณ์ ได้รับการดูแลช่วยเหลือจนดีขึ้น 85 90.42
2562 2.2 ร้อยละของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการคัดกรองแล้วพบว่ามีพัฒนาการล่าช้าแล้วได้รับการกระตุ้นพัฒนาการด้วย TEDA4I จนมีพัฒนาการสมวัย 30 49.38
2562 2.1 ร้อยละของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการคัดกรองแล้วพบว่ามีพัฒนาการล่าช้าแล้วได้รับการกระตุ้นพัฒนาการด้วย TEDA4I 60 43.80
<