ปีงบประมาณ

2562

ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดที่สำคัญของกรมสุขภาพจิต

รพ./สถาบัน

(ข้อมูลจากผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ระดับกรมและระดับหน่วยงาน ปีงบประมาณ 2562

 

ลำดับที่ ประจำปีงบประมาณ ตัวชี้วัดที่ รายละเอียด เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน
2562 20 ร้อยละของผู้พยายามฆ่าตัวตายไม่กลับมาทำร้ายตัวเองซ้ำในระยะเวลา 1 ปี 80 93.57
2562 2.1 ร้อยละของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการคัดกรองแล้วพบว่ามีพัฒนาการล่าช้าแล้วได้รับการกระตุ้นพัฒนาการด้วย TEDA4I 60 43.80
2562 2.2 ร้อยละของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการคัดกรองแล้วพบว่ามีพัฒนาการล่าช้าแล้วได้รับการกระตุ้นพัฒนาการด้วย TEDA4I จนมีพัฒนาการสมวัย 30 49.38
2562 3 ร้อยละของเด็กวัยเรียนกลุ่มเสี่ยงต่อระดับสติปัญญาต่ำกว่ามาตรฐาน ปัญหาการเรียนรู้ ออทิสติก และปัญหาพฤติกรรม-อารมณ์ ได้รับการดูแลช่วยเหลือจนดีขึ้น 85 90.42
2562 4 ร้อยละของเด็กวัยรุ่นกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลช่วยเหลือจนดีขึ้น 90 95.77
2562 8 ร้อยละคนพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม ได้รับการดูแลฟื้นฟูจนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 90 96.62
2562 9 ร้อยละของจังหวัดที่ผู้ป่วยโรคจิตเภทเข้าถึงบริการได้ตามเกณฑ์ 90 91.63
2562 11 ร้อยละของจังหวัดที่ผู้ป่วยออทิสติก (ASD) เข้าถึงบริการสุขภาพจิตได้ตามเป้าหมาย 50 68.83
2562 12 ร้อยละของผู้ป่วยสมาธิสั้น (ADHD) เข้าถึงบริการสุขภาพจิตเพิ่มขึ้น 5 5.22
2562 13 ร้อยละของผู้ป่วยโรคติดสุราในพื้นที่เข้าถึงบริการตามมาตรฐานเพิ่มขึ้น 1 1.95
2562 14 ร้อยละของผู้ประสบภาวะวิกฤตที่มีปัญหาสุขภาพจิตได้รับการเยียวยาจิตใจตามมาตรฐานกรมสุขภาพจิต 75 100.00
2562 17 ค่าคะแนนตามเกณฑ์การพัฒนาไปสู่การเป็นศูนย์ความเป็นเลิศด้านสุขภาพจิตและจิตเวชในระดับประเทศ (Excellence Center) ของหน่วยบริการจิตเวช 80 93.20
2562 1 ร้อยละของเด็กปฐมวัยกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการคัดกรองแล้วพบว่าสงสัยล่าช้าแล้วได้รับการกระตุ้นจนมีพัฒนาการสมวัย 70 98.28
2562 18.2 ร้อยละของผู้ป่วยจิตเวชยาเสพติด ที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจากการบำบัดรักษาครบตามกำหนด (3 month Remission Rate) 60 78.52
2562 29 ร้อยละของบุคลากรในหน่วยงานที่ได้รับการพัฒนาทักษะและสมรรถนะในหลักสูตรที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน 80 94.03
2562 21 ร้อยละของผู้ป่วยจิตเวชที่เข้ารับกาบำบัดรักษาและจำหน่ายตามพระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ.2551 ได้รับการติดตามต่อเนื่องครบ 1 ปี 55 75.34
2562 22.1 ร้อยละของผู้ป่วยจิตเวชที่มีความเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรง (SMI-V) ที่ได้รับการติดตามเฝ้าระวังจากหน่วยบริการจิตเวชในสังกัดกรมสุขภาพจิตและเครือข่ายในเขตสุขภาพไม่ก่อความรุนแรงซ้ำ ภายใน 1 ปี 96 99.30
2562 22.2 ร้อยละของผู้ป่วยจิตเวชที่มีความเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรง (SMI-V) ได้รับบริการ Acute Care ในหน่วยบริการสาธารณสุขระดับ A,S,M1 และ M2 ปลอดภัย ไม่ฆ่าตัวตาย รวมทั้งไม่ทำร้ายผู้อื่นภายใน 1 ปี 75 98.73
2562 23 ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้า หายทุเลา (full remission) 18 34.98
2562 24 ค่าคะแนนตามเกณฑ์การวิจัย พัฒนาและนำไปใช้ประโยชน์ของนวัตกรรม/เทคโนโลยีด้านสุขภาพจิตและจิตเวชของหน่วยงาน) 80 60.00
2562 25.1 ค่า EUI ของหน่วยงานในสังกัดกรมสุขภาพจิต: ไฟฟ้า 0 0.98
2562 25.2 ค่า EUI ของหน่วยงานในสังกัดกรมสุขภาพจิต: น้ำมัน 0 4.32
2562 26.1 ร้อยละการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่าย: งบดำเนินงาน 95 99.53
2562 26.2 ร้อยละการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่าย: งบลงทุน 80 66.80
2562 27.1 ร้อยละของผู้เข้าทำแบบสำรวจความคิดเห็นด้านคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงาน 80 93.29
2562 27.2 ร้อยละของผู้เข้าทำแบบสำรวจความคิดเห็นด้านคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงาน ที่มีการรับรู้ฯ ในระดับมากขึ้นไป 60 82.94
2562 28 ร้อยละความสำเร็จของการพัฒนา/ปรับปรุงหน่วยงานตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐานสำหรับหน่วยงานในสังกัดกรมสุขภาพจิต (PMQA-M-F) 90 98.19
2562 18.1 ร้อยละของผู้ป่วยจิตเวชยาเสพติดที่บำบัดครบตามเกณฑ์ของแต่ละระบบและได้รับการติดตามดูแลต่อเนื่อง 1 ปี (Retention Rate) 30 64.07
<